การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการใช้ Google Apps

ผลงานทางวิชาการที่เสนอ เป็นการพัฒนกระบวนการจัดการเรียนการสอน  การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน   โดยการใช้ Google Apps สำหรับพัฒนาครู ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนือ โดยใช้ Google Apps.พื่อยกระดับคุณภาพครูด้วยการปฏิบัติจริงผ่านสังคมแห่งการเรียนรู้ในโลกออนไลน์ครูต้องพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ให้ทันสมัยด้วยการใช้เทคโนโลยี่สารสนเทศและการสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่หลากหลายรูปแบบวิธีการเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาบุคลากรครู ให้มีความพร้อมสหรับการปฏิรูปการศึกษา อย่างมีคุณภาพ 1.มีทักษะเท่าทัน    

คือมีวิจารณญาณสร้างสรรค์ทงานเป็นทีมเข้าใจพหุวัฒนธรรมสื่อสารเป็นรู้ทันเทคโนโลยีมีความเชื่อมั่นก้าวทันการเปลี่ยนแปลง 2.มีทักษะก้าวหน้าคือมีทักษะการเรียนรู้ะทักษะการเป็นผู้น  อีกทั้งประชาชนไทยในสังคมปัจจุบันให้ความสนใจกับความเคลื่อนไหวในสังคมออนไลน์อย่างไร้ขีดจกัดจนกลายเป็นส่วนสคัญในชีวิตประจวัน และมีขอบเขตของการประเมิน คือ1.กระบวนการจัดการเรียนการสอน การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการใช้ Google Apps. มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80  2.ครูสามารถใช้ ใช้ Google classroom .ในการจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอน การศึกษานอก  ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ในระดับดี และ 3.ครูมีความพึงพอใจ ต่อกาพัฒนกระบวนการจัดการเรียนการสอน การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการใช้ Google Apps. อยู่ในระดับ มาก กลุ่มเป้าหมายคือครู จำนวน 12 คน และนักศึกษา 234 คน จากผลการประเมินความสำเร็จของ การพัฒนกระบวนการจัดการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยการใช้GoogleAppsnถือว่าเป็นการวิจัยกระบวนการเรียนการสอน เพื่อ นมาประกอบการพัฒนากระบวนการเรียบนการสอน  รวมถึงการประเมินเพื่อปรับปรุง นรูปแบบของการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศ ให้เกิดประโยชน์ต่อบุคลากรครู ผู้สนใจศึกษา และการนไปพัฒนาต่อเนื่อง

ผลการวิจัยครั้งนี้ ว่าการพัฒนาระบบพัฒนาครูด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอน  การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการใช้ Google Appsn สามารถนมาใช้พัฒนาทักษะ ารฝึกปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ของบุคลากรครู ในสถานศึกษา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
80/ 80
ได้อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่.05มีระดับความพึง พอใจของบุคลากรครู ที่มีต่อการพัฒนาระบบ
พัฒนาครูด้วยกระบวนการสอนแบบห้องเรียนกลับ